เรารู้กันว่าในการที่ Facebook จะเลือกเอาเนื้อหาจากเพื่อน หรือเพจใด ๆ มาแสดงบนหน้า News Feed ของเรานั้น เป็นการคัดเลือกมาจากพฤติกรรมของเรา และนำเข้าไปสู่อัลกอริทึมที่จะประมวลผลในการสร้างหน้า Feed ของเราขึ้นมาให้เราพอใจ ซึ่งสิ่งนี้เกิดขึ้นตั้งแต่ตอนแรกที่ Facebook ได้ถูกสร้างขึ้น และวัตถุประสงค์ของ Facebook ก็คือต้องการให้คนกลับมาดูอีก มาดูเรื่อย ๆ เพราะคนเล่นได้เห็นสิ่งที่ตัวเองอยากจะเห็นและอยากจะรู้ แม้ว่าบางครั้ง พฤติกรรมเช่นนี้จะนำไปสู่ Echo Chamber ที่ดู ๆ แล้วน่าจะมีข้อเสียไม่น้อยไปกว่าข้อดีเลย ถ้าเราไม่รู้จักรู้เท่าทัน
Social
Website
หลังจากจบสัมภาษณ์พี่บิ๊ก หรือ บิ๊กบุญที่ทุกคนรู้จักกัน เรายังไม่ลืมถามว่าตอนนี้พี่บิ๊กนอกจากจัดพอดแคสต์ของตัวเองแล้ว ยังติดตามฟังพอดแคสต์ช่องไหนอยู่บ้าง พี่บิ๊กจึงจัดให้เราเน้นๆมา 4 ช่องด้วยกัน นอกจากเป็น 4 ช่องที่อัดแน่นไปด้วยสาระความบันเทิงแล้ว ยังช่วยฝึกภาษาอังกฤษไปในตัวด้วย
News
Why am I seeing this post ฟีเจอร์ใหม่ของ Facebook ที่ผู้ใช้ทุกคนสามารถใช้ได้ เป็นอีกหนึ่งฟีเจอร์ที่ทำออกมาเพื่อแสดงถึงความโปรงใส (transparency) ต่อเนื่องมาจากในกรณีที่ Mark ขึ้นศาลเมื่อปีก่อน
Case Study
IGTV เป็นอีกหนึ่ง Platform Video ของ Instagram ที่สร้างขึ้นมาโดยเน้นเป้าหมายไปที่กลุ่ม Creator หรือคนทำคอนเทนต์มาใช้เพื่อลงคลิปวิดีโอแบบจริงจังเล่น Vlog หรือ Series ต่างๆ แต่ความแตกต่างของ IGTV ก็คือ IGTV นั้นรองรับแค่วิดีโอแบบแนวตั้งเท่านั้น ถ้าให้อธิบายง่าย ๆ มันก็คือ Story ที่นานขึ้นและดูได้เป็นเรื่องเป็นราวนั้นเอง
Interview
ถ้าพูดถึงสื่อที่ทำ Podcast อย่างจริงจังและต่อเนื่องที่สุดคงต้องยกให้กับ The Standard และเบื้องหลังช่อง Podcast ก็คือนักคิด นักเขียนคนนี้ บิ๊ก ภูมิชาย บุญสินสุข หรือนามปากกา ‘บิ๊กบุญ’ เมื่องาน iCreator Meetup ครั้งที่ 2 เราได้เขาคนนี้มาเป็น Guest Speaker และยังได้พูดคุยเพิ่มเติมถึงคำแนะนำ เส้นทางสู่การเป็น Podcaster ไปจนถึงหนทางการหารายได้จาก Audio Content สุดฮอตอย่าง Podcast นี่
Case Study
จากหลายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงนี้ ทั้งเรื่องการขึ้นศาลของพี่มาร์คไปจนถึงบริการออนไลน์หลายเจ้าทำข้อมูลหลุดแล้วหลุดอีก ทำให้หลายคนเริ่มเข้าใจและมาใส่ใจในเรื่องของ privacy มากขึ้น
Journalism
เป็นเรื่องที่พูดแล้วอาจจะดูไม่แปลกอะไร เพราะทุกวันนี้เราชินกับข่าวที่มีการใส่ความคิดเห็น และคำที่เป็นการแสดงความรู้สึกกันเป็นเรื่องปกติ แต่นั่นก็เป็นแค่ความรู้สึก ยังไม่มีการวัดอย่างแท้จริงถึงเชิงปริมาณของมัน แต่งานวิจัยล่าสุดจาก RAND ได้นำข่าวจากฐานข้อมูลตั้งแต่ปี 1989 ของประเทศสหรัฐอเมริกามาวิเคราะห์ โดยลงลึกไปในระดับภาษาศาสตร์ (linguistic) พบว่าข่าวทุกวันนี้ มีแนวโน้มจะมีความเป็นอัตวิสัยมากขึ้น
News
ในช่วงงานพระราชพิธีที่ผ่านมา คนได้ได้เห็นบทบาทของราชวงศ์บน Social Media มากขึ้น โดยเฉพาะจาก Instragram ส่วนพระองค์ของทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ฯ หรือ Facebook Story ส่วนพระองค์ของพระองค์หญิงสิริวัณณวรีฯ ที่ทรงฉายเบื้องหลังของงานมาให้เราได้ชมกัน เรื่องราวแนว ๆ นี้ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะประเทศไทยอย่างเดียว แต่กับราชวงศ์อังกฤษก็เช่นกัน หลาย ๆ พระองค์ก็ทรงมี Social Media เป็นของพระองค์เอง เช่นเจ้าชายแฮร์รี่ ที่ล่าสุดทรงเปิด Instagram ส่วนพระองค์เล่าพระราชกรณียกิจต่าง ๆ
Case Study
ก่อนที่เราจะมี Facebook Page ช่อง YouTube หรือจะมีสื่อต่าง ๆ เป็นของตัวเอง หลายคนก็อาจจะเคยมีช่วงเวลาที่ว่ามีไอเดีย อยากทำนู่นนี่นั่นเต็มไปหมด แต่สุดท้ายไอเดียนั้นก็จบไป ไม่ได้เริ่มทำซักที หรือบางคนก็เริ่มต้นบางอย่างไว้แล้ว ถ้าจะทำเว็บก็จด Domain ไว้แล้ว จะทำเพจก็เปิดเพจไว้แล้ว แต่สุดท้ายก็ไม่ได้ทำต่อ หรือลงได้คอนเทนต์สองคอนเทนต์ก็เลิกทำซักแล้ว